บทที่ 2
Array and Recordอเรย์ เป็นตัวกำหนดขอบเขต จะมี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป เรียกว่า อเรย์หลายมิติSubscript จะมีตัวประกอบด้วยคุณค่าสูงสุด และต่ำสุด ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบนอะเรย์ 1 มิติ หมายถึง คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำการส่งอะเรย์ให้กับฟังก์ชัน แบ่ง 2 ลักษณะ1. กำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscriptอะเรย์ 2 มิติ หมายถึง คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำ จำนวน 6 ที่
Record or Structureเป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูล พื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูลStructure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมี ประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้การประกาศสมาชิกแต่ละตัวของ structure สมาชิกแต่ละตัวของ structrue จะเป็นตัวแปร ธรรมดา พอยน์เตอร์ อะเรย์หรือ structure ตัวอื่นก็ได้ โดยชื่อของสมาชิกแต่ละตัวต้องแตกต่างกันกำหนดค่าเริ่งต้นให้กับสมาชิกของ structure โดยค่าเริ่มต้นที่จะกำหนดให้กับสมาชิกตัวใด จะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับสมาชิกตัวนี้การผ่าน Structure ให้กับฟังก์ชัน มี 2 ประเภท1.ส่งสมาชิกแต่ละตัวของ Structure ส่งเป็นอาร์กิวเมนต์ ของฟังก์ชันและส่งกลับจากฟังก์ชันได้โดยใช้คำสั่ง return2.ส่งทั้ง Structure ส่งผ่านในลักษณะของพอยน์เตอร์ไปยัง structure โดยหลักการจะเหมือนกับการส่งผ่านอะเรย์ไปให้ฟังก์ชัน
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552
#include
#include
int main(void)
{
struct MyMobilePhone
{
char mobile_phone[10];
char generation[70];
char system[70];
char operatingsystem[70];
char thesystemshakes[70];
int weight;int high;int price;
}
data;
strcpy(data.mobile_phone,"Samsung");
strcpy(data.generation,"F480");
strcpy(data.system,"Quadband GSM 1800/1900 MHz");
strcpy(data.operatingsystem,"Symbian OS version 9.4 - S60 5th edition");
strcpy(data.thesystemshakes,"Vibration in Phone");
data.weight=100.6;
data.high=111;
data.price=10390;
printf("***********************************************************");
printf("**************************SAMSUNG***********************");
printf("***********************************************************");
printf("mobilephone : %s\n generation : %s\n system : %s\n operatingsystem : %s\nthesystemshakes : %s\n weight : %d\n high : %d\n price : %d\n",data.mobile_phone,data.generation,data.system,data.operatingsystem,data.thesystemshakes,data.weight,data.high,data.price); printf("***********************************************************");
}
#include
int main(void)
{
struct MyMobilePhone
{
char mobile_phone[10];
char generation[70];
char system[70];
char operatingsystem[70];
char thesystemshakes[70];
int weight;int high;int price;
}
data;
strcpy(data.mobile_phone,"Samsung");
strcpy(data.generation,"F480");
strcpy(data.system,"Quadband GSM 1800/1900 MHz");
strcpy(data.operatingsystem,"Symbian OS version 9.4 - S60 5th edition");
strcpy(data.thesystemshakes,"Vibration in Phone");
data.weight=100.6;
data.high=111;
data.price=10390;
printf("***********************************************************");
printf("**************************SAMSUNG***********************");
printf("***********************************************************");
printf("mobilephone : %s\n generation : %s\n system : %s\n operatingsystem : %s\nthesystemshakes : %s\n weight : %d\n high : %d\n price : %d\n",data.mobile_phone,data.generation,data.system,data.operatingsystem,data.thesystemshakes,data.weight,data.high,data.price); printf("***********************************************************");
}
วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552
DTS02-23/06/52
บทที่1
Data Structure
Introduction
1.ความหมายของโครงสร้างข้อมูลข้อมูล
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงต่างๆซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้
โครงสร้างข้อมูลคือความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม
2.ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น2ประเภทคือ
1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ(Physical Data Structure)
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ(Logical Data Structure)
3..การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก มีอยู่2วิธีดังนี้
-การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก
-การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก
4.ขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
-มีความถูกต้อง
-ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
-สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
-ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
Data Structure
Introduction
1.ความหมายของโครงสร้างข้อมูลข้อมูล
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงต่างๆซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้
โครงสร้างข้อมูลคือความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม
2.ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น2ประเภทคือ
1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ(Physical Data Structure)
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ(Logical Data Structure)
3..การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก มีอยู่2วิธีดังนี้
-การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก
-การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก
4.ขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
-มีความถูกต้อง
-ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
-สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
-ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ประวัติ
น.ส.ณัฐยา ทับเพชร รหัสประจำตัวนักศึกษา 50132792030
Miss. Nuttaya Tubpet
ชื่อเล่น กุ๊ก
หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจักการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
E-mail: u50132792030@gmali.com
Miss. Nuttaya Tubpet
ชื่อเล่น กุ๊ก
หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจักการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
E-mail: u50132792030@gmali.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)