บทที่5
สแตก (Stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแบบลิเนียร์ลิสต์ ที่มีคุณสมบัติที่ว่า การเพิ่มหรือลบข้อมูลในสแตก จะกระทำที่ ปลายข้างเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า Top ของสแตก (TopOf Stack) และ ลักษณะที่สำคัญของสแตกคือ ข้อมูลที่ใส่หลังสุดจะถูกนออกมา จากสแตกเป็นลำดับแรกสุด เรียกคุณสมบัตินี้ว่าLIFO (Last In First Out)
1.Push คือ การนำข้อมูลใส่ลงไปในสแตกเช่น สแตก s ต้องการใส่ข้อมูล i ในสแตก จะได้push (s,i) คือ ใส่ข้อมูล i ลงไปที่ทอปของสแตก sในการเพิ่มข้อมูลลงในสแตก จะต้องทำการตรวจสอบว่าสแตก เต็มหรือไม่ ถ้าไม่เต็มก็สามารถเพิ่มข้อมูลลงไปในสแตกได้ แล้วปรับตัวชี้ตำแหน่งให้ไปชี้ที่ตำแหน่งข้อมูลใหม่ ถ้าสแตกเต็ม (StackOverflow) ก็จะไม่สามารถเพิ่มข้อมูลเข้าไปในสแตกได้อีก
2. Pop คือ การนำข้อมูลออกจากส่วนบนสุดของสแตกเช่น ต้องการนำข้อมูลออกจากสแตก sไปไว้ที่ตัวแปร iจะได้ i = pop (s)การนำข้อมูลออกจากสแตก ถ้าสแตกมีสมาชิกเพียง 1ตัว แล้วนสมาชิกออกจากสแตก จะเกิดสภาวะสแตกว่าง (Stack Empty) คือ ไม่มีสมาชิกอยู่ในสแตกเลยแต่ถ้าไม่มีสมาชิกในสแตก แล้วทำการ pop สแตก จะทำให้ เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า Stack Underflowเพราะฉะนั้นก่อนนำข้อมูลออกจากสแตกจะต้องตรวจสอบ ก่อนว่าสแตกว่างหรือเปล่า จึงจะนำข้อมูลออกจากสแตกได้
และ ปรับตัวชี้ตำแหน่งให้ไปชี้ตำแหน่งของข้อมูลที่ต่อจากข้อมูลที่ถูกนำ ออกไป
3. Stack Top เป็นการคัดลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก แต่ไม่ได้นำเอาข้อมูลนั้นออกจากสแตก
1. Create Stackจัดสรรหน่วยความจำให้แก่ Head Nodeและส่งค่าตำแหน่งที่ชี้ไปยังHead ของสแตกกลับมา
2. Push Stackการเพิ่มข้อมูลลงไปในสแตก
3. Pop Stackการนำข้อมูลบนสุดออกจากสแตก
4. Stack Topเป็นการคัดลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก โดยไม่มีการลบข้อมูลออกจากสแตก
5.Empty Stackเป็นการตรวจสอบการว่างของสแตก เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการนำข้อมูลออกจากสแตกที่เรียกว่าStackUnderflow
6. Full Stackเป็นการตรวจสอบว่าสแตกเต็มหรือไม่ เพื่อไม่ให้เกิดความ
ผิดพลาดในการนำข้อมูลเข้าสแตกที่เรียกว่า Stack Overflow
7. Stack Countเป็นการนับจำนวนสมาชิกในสแตกการคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
ในการเขียนนิพจน์ทางคณิตศาสตร์เพื่อการคำนวณ จะต้องคำนึงถึงลำดับความสำคัญของเครื่องหมายสำหรับการคำนวณด้วย
โดยทั่วไปนิพจน์ทางคณิตศาสตร์สามารถเขียนได้ 3 รูปแบบ คือ
1. นิพจน์ Infix นิพจน์รูปแบบนี้ operatorจะอยู่ตรงกลางระหว่างตัวถูกดำเนินการ 2 ตัว
2. นิพจน์ Postfix นิพจน์รูปแบบนี้ จะต้องเขียนตัวถูกดำเนินการตัวที่ 1 และ 2 ก่อน แล้วตามด้วย operator
3. นิพจน์ Prefix นิพจน์รูปแบบนี้ จะต้องเขียน operatorก่อนแล้วตามด้วยตัวถูกดำเนินการตัวที่ 1 และ 2
ขั้นตอนการแปลงจากนิพจน์ Infix เป็นนิพจน์Postfix
1. อ่านอักขระในนิพจน์ Infix เข้ามาทีละตัว
2. ถ้าเป็นตัวถูกดำเนินการจะถูกย้ายไปเป็นตัวอักษรในนิพจน์ Postfix
3. ถ้าเป็นตัวดำเนินการ จะนำค่าลำดับความสำคัญของตัว ดำเนินการที่อ่านเข้ามาเทียบกับค่าลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการที่อยู่บนสุดของสแตก
- ถ้ามีความสำคัญมากกว่า จะถูก push ลงในสแตก
- ถ้ามีความสำคัญน้อยกว่าหรือเท่ากัน จะต้อง pop ตัว
ดำเนินการที่อยู่ในสแตกขณะนั้นไปเรียงต่อกับตัวอักษรในนิพจน์ Postfix
4. ตัวดำเนินการที่เป็นวงเล็บปิด “)” จะไม่ push ลงในสแตกแต่มีผลให้ตัวดำเนินการอื่น ๆ ถูก pop ออกจากสแตกนำไป เรียงต่อกันในนิพจน์ Postfix จนกว่าจะเจอ “(” จะ popวงเล็บเปิดออกจากสแตกแต่ไม่นำไปเรียงต่อ
5. เมื่อทำการอ่านตัวอักษรในนิพจน์ Infixหมดแล้ว ให้ทำการ Pop ตัวดำเนินการทุก
ตัวในสแตกนำมาเรียงต่อในนิพจน์Postfix
วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ฟังก์ชัน iostream
#include
void set(int arm,int leg,float height);
int main()
{int arm=2;
int leg=2;
float height=170.5;
set(arm,leg,height);
set(5,4,15.6);
return 0;
}
void set(int arm,int leg,float height)
{
cout<<""There are "<< are <<"are"<< leg <<"legs and "<< height <<"\n";
}
void set(int arm,int leg,float height);
int main()
{int arm=2;
int leg=2;
float height=170.5;
set(arm,leg,height);
set(5,4,15.6);
return 0;
}
void set(int arm,int leg,float height)
{
cout<<""There are "<< are <<"are"<< leg <<"legs and "<< height <<"\n";
}
วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552
DTS05-28/07/52
บทที่4
Linked List
ในลิงค์ลิสต์จะมีตัวแปรสำหรับชี้ตำแหน่งลิสต์ (List pointer variable)ซึ่งเป็นที่เก็บตำแหน่งเริ่มต้นของลิสต์ ซึ่งก็คือโหนดแรกของลิสต์นั่นเอง ถ้าลิสไม่มีข้อมูล ข้อมูลในโหนดแรกของลิสต์จะเป็นNull
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. Head Structure จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนได้แก่ จำนวนโหนดในลิสต์ (Count) พอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดที่เข้าถึง (Pos) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดข้อมูลแรกของลิสต์ (Head)
2. Data Node Structure จะประกอบไปด้วยข้อมูล(Data) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังข้อมูลตัวถัดไป
กระบวนงานและฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินงานพื้นฐาน
1. กระบวนงาน Create List
หน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง
ผลลัพธ์ ลิสต์ว่าง
2. กระบวนงาน Insert Node
หน้าที่เพิ่มข้อมูลลงไปในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ
ข้อมูลนำเข้า ลิสต์ ข้อมูล และตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. กระบวนงาน Delete Node
หน้าที่ ลบสมาชิกในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ
ข้อมูลนำเข้า ข้อมูลและตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
4. กระบวนงาน Search list
หน้าที่ ค้นหาข้อมูลในลิสต์ที่ต้องการข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ค่าจริงถ้าพบข้อมูล ค่าเท็จถ้าไม่
พบข้อมูล
5. กระบวนงาน Traverse
หน้าที่ ท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผลข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ขึ้นกับการประมวลผล เช่น
เปลี่ยนแปลงค่าใน node , รวมฟิลด์ในลิสต์ ,
คำนวณค่าเฉลี่ยของฟิลด์ เป็นต้น
6. กระบวนงาน Retrieve Node
หน้าที่ หาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ตำแหน่งข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
8. ฟังก์ชั่น FullList
หน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ เป็นจริง ถ้าหน่วยความจำเต็ม
เป็นเท็จ ถ้าสามารถมีโหนดอื่น
9. ฟังก์ชั่น list count
หน้าที่ นับจำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ จำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
10. กระบวนงาน destroy list
หน้าที่ ทำลายลิสต์
ข้อมูลนำเข้า ลิสต์
ผลลัพธ์ ไม่มีลิสต์
Linked List
ในลิงค์ลิสต์จะมีตัวแปรสำหรับชี้ตำแหน่งลิสต์ (List pointer variable)ซึ่งเป็นที่เก็บตำแหน่งเริ่มต้นของลิสต์ ซึ่งก็คือโหนดแรกของลิสต์นั่นเอง ถ้าลิสไม่มีข้อมูล ข้อมูลในโหนดแรกของลิสต์จะเป็นNull
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. Head Structure จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนได้แก่ จำนวนโหนดในลิสต์ (Count) พอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดที่เข้าถึง (Pos) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดข้อมูลแรกของลิสต์ (Head)
2. Data Node Structure จะประกอบไปด้วยข้อมูล(Data) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังข้อมูลตัวถัดไป
กระบวนงานและฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินงานพื้นฐาน
1. กระบวนงาน Create List
หน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง
ผลลัพธ์ ลิสต์ว่าง
2. กระบวนงาน Insert Node
หน้าที่เพิ่มข้อมูลลงไปในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ
ข้อมูลนำเข้า ลิสต์ ข้อมูล และตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. กระบวนงาน Delete Node
หน้าที่ ลบสมาชิกในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการ
ข้อมูลนำเข้า ข้อมูลและตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
4. กระบวนงาน Search list
หน้าที่ ค้นหาข้อมูลในลิสต์ที่ต้องการข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ค่าจริงถ้าพบข้อมูล ค่าเท็จถ้าไม่
พบข้อมูล
5. กระบวนงาน Traverse
หน้าที่ ท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผลข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ขึ้นกับการประมวลผล เช่น
เปลี่ยนแปลงค่าใน node , รวมฟิลด์ในลิสต์ ,
คำนวณค่าเฉลี่ยของฟิลด์ เป็นต้น
6. กระบวนงาน Retrieve Node
หน้าที่ หาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ตำแหน่งข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
8. ฟังก์ชั่น FullList
หน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ เป็นจริง ถ้าหน่วยความจำเต็ม
เป็นเท็จ ถ้าสามารถมีโหนดอื่น
9. ฟังก์ชั่น list count
หน้าที่ นับจำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ จำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
10. กระบวนงาน destroy list
หน้าที่ ทำลายลิสต์
ข้อมูลนำเข้า ลิสต์
ผลลัพธ์ ไม่มีลิสต์
DTS04-14/07/52
บทที่ 3
Set and String
โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันะกัน ในภาษาซี จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาศคาล แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้
สตริง
เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
สตริง คือ อเรย์ของอักขระ
เช่น char a[6]
อเรย์ของสตริง
ถ้าหากมีสตริงเป็นจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอเรย์ของสติง เพื่อที่จะเขียนดปรมแกรมได้สะดวก การสร้างอเรย์ของสตริง สามารภสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
การกำหนดตัวแปรในลักษณะนี้ จะแตกต่างจากากรกำหนดตัวแปรแบบความยาวไม่เท่ากัน ท้ายของสติงจะเติมnull charracter ให้เพียงตัวเดียว จะเติมnull character ให้ครบทุกช่อง
Set and String
โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันะกัน ในภาษาซี จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาศคาล แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้
สตริง
เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
สตริง คือ อเรย์ของอักขระ
เช่น char a[6]
อเรย์ของสตริง
ถ้าหากมีสตริงเป็นจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอเรย์ของสติง เพื่อที่จะเขียนดปรมแกรมได้สะดวก การสร้างอเรย์ของสตริง สามารภสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
การกำหนดตัวแปรในลักษณะนี้ จะแตกต่างจากากรกำหนดตัวแปรแบบความยาวไม่เท่ากัน ท้ายของสติงจะเติมnull charracter ให้เพียงตัวเดียว จะเติมnull character ให้ครบทุกช่อง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)