บทที่6
คิว (Queue) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้นหรือลิเนียรลิสต์ซึ่งการเพิ่มข้อมูลจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่าส่วนท้ายหรือเรียร (rear) และการนำข้อมูลออกจะกระทำที่ปลายอีกข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่า ส่วนหน้า หรือฟรอนต์ (front)
การทํางานของคิวการใสสมาชิกตัวใหม่ลงในคิว เรียกว่า Enqueue การแทนที่ขอมูลของคิวการแทนที่
ขอมูลของคิว สามารถทําได้ 2 วิธี คือ1. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบลิงค์ลิสต์2. การแทนที่ข้อมูลของคิวแบบอะเรย์
การดำเนินการเกี่ยวกับคิว ได้แก่
1. Create Queue 6. Empty Queue
2. Enqueue 7. Full Queue
3. Dequeue 8. Queue Count
4. Queue Front 9. Destroy Queue
5. Queue Rear
1. Create Queueจัดสรรหน่วยความจําให่แก่ Head Node และใหคา pointer ทั้ง 2 ตัวมีค่าเปน null และจํานวนสมาชิกเป็น 0
2. Enqueueการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว
3. Dequeueการนําขอมูลออกจากคิว
4. Queue Frontเป็นการนําข้อมูลที่อยู่ส่วนต้นของคิวมาแสดง
5. Queue Rearเป็นการนําข้อมูลที่อยู่ส่วนท้ายของคิวมาแสดง
6. Empty Queueเป็นการตรวจสอบว่าคิวว็างหรือไม่
7. Full Queue เป็นการตรวจสอบว่าคิวเต็มหรือไม่
8. Queue Countเป็นการนับจํานวนสมาชิกที่อยู่ในคิว
9. Destroy Queueเป้นการลบข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในคิว
การนําข้อมูลเข้าสู่คิว จะไม่สามารถนําเข้าในขณะที่คิวเต็ม หรือไมมีที่ว่าง ถ้าพยายามนําเข้าจะทําให้เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า underflow
วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น